เมนูหลัก

ตัวชี้วัดบุคคล (สำหรับตำแหน่งพัฒนาการจังหวัด) รอบ 2 ปี 2566

ข้อมูลตัวชี้วัด

# ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน(KPI) ทีม เกณฑ์การวัด (1-5 คะแนน) น้ำหนัก ปี รอบ
1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ร้อยละของครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ระดับ 1 ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ไม่เกิน ร้อยละ 17
ระดับ 2 ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ไม่เกิน ร้อยละ 16
ระดับ 3 ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ไม่เกิน ร้อยละ 15
ระดับ 4 ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ไม่เกิน ร้อยละ 14
ระดับ 5 ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. คงเหลือ ไม่เกิน ร้อยละ 13
15
2566
2
2 การส่งเสริมและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ระดับ 1 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP น้อยกว่าค่าเป้าหมายขั้นต้น
ระดับ 2 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP เท่ากับค่าเป้าหมายขั้นต้น
ระดับ 3 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP เท่ากับค่าเป้าหมายขั้นมาตรฐาน
ระดับ 4 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP สูงกว่าค่าเป้าหมายขั้นมาตรฐาน แต่น้อยกว่าค่าเป้าหมายขั้นสูง
ระดับ 5 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP เท่ากับค่าเป้าหมายขั้นสูง
15
2566
2
3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ระดับ 1 ผลการดำเนินงานการสร้างรายได้จากกิจการอาหารปลอดภัย โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น น้อยกว่าร้อยละ 3
ระดับ 2 ผลการดำเนินงานการสร้างรายได้จากกิจการอาหารปลอดภัย โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
ระดับ 3 ผลการดำเนินงานการสร้างรายได้จากกิจการอาหารปลอดภัย โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4
ระดับ 4 ผลการดำเนินงานการสร้างรายได้จากกิจการอาหารปลอดภัย โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ระดับ 5 ผลการดำเนินงานการสร้างรายได้จากกิจการอาหารปลอดภัย โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6
15
2566
2
4 การสร้างความร่วมมือและส่งเสริมบทบาทเครือข่ายการพัฒนาชุมชนทั้งในและต่างประเทศ ร้อยละของจำนวนครัวเรือนเป้าหมายที่สามารถลดหนี้/ปลดหนี้ได้ด้วยกระบวนการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ระดับ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ระดับ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ระดับ 3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ระดับ 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ระดับ 5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
15
2566
2
5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ 1 มีการบันทึกข้อมูลสภาพปัญหา/ความต้องการและแนวทางการแก้ปัญหา การบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมาย และดำเนินการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาในระบบ TPMAP Logbook ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
ระดับ 2 มีการบันทึกข้อมูลสภาพปัญหา/ความต้องการและแนวทางการแก้ปัญหา การบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมาย และดำเนินการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาในระบบ TPMAP Logbook ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
ระดับ 3 มีการบันทึกข้อมูลสภาพปัญหา/ความต้องการและแนวทางการแก้ปัญหา การบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมาย และดำเนินการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาในระบบ TPMAP Logbook ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30
ระดับ 4 มีการบันทึกข้อมูลสภาพปัญหา/ความต้องการและแนวทางการแก้ปัญหา การบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมาย และดำเนินการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาในระบบ TPMAP Logbook ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40
ระดับ 5 มีการบันทึกข้อมูลสภาพปัญหา/ความต้องการและแนวทางการแก้ปัญหา การบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมาย และดำเนินการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาในระบบ TPMAP Logbook ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
15
2566
2
6 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของตำบลเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของตำบลเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับ 3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของตำบลเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับ 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของตำบลเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับ 5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของตำบลเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
15
2566
2
7 การส่งเสริมและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง ระดับความสำเร็จการบริหารจัดการหนี้ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ระดับ 1 ทบทวนทำฐานข้อมูลลูกหนี้ ทบทวนแผนบริหารจัดการหนี้ ดำเนินการตามแผนบริหารจัดการหนี้ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และบริหารจัดการหนี้เกินกำหนดชำระคงเหลือมากกว่าร้อยละ 16
ระดับ 2 รายงานผลการบริหารจัดการหนี้ เสนอคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัดทราบทุกครั้งที่มีการประชุม และบริหารจัดการหนี้เกินกำหนดชำระคงเหลือต่ำกว่าร้อยละ 16
ระดับ 3 บริหารจัดการหนี้เกินกำหนดชำระคงเหลือต่ำกว่าร้อยละ 14
ระดับ 4 บริหารจัดการหนี้เกินกำหนดชำระคงเหลือต่ำกว่าร้อยละ 12
ระดับ 5 บริหารจัดการหนี้เกินกำหนดชำระคงเหลือต่ำกว่าร้อยละ 10
10
2566
2
รวม
100%